พื้นที่มีโอกาสเกิดหลุมยุบ

พื้นที่มีโอกาสเกิดหลุมยุบ (1: 250,000 ) ได้จากการประเมินแผนที่ธรณีวิทยาที่มีหินปูนรองรับของประเทศไทย

Data and Resources

Additional Info

Field Value
* Data Type ข้อมูลภูมิสารสนเทศเชิงพื้นที่
Allow for harvest to GD-Catalog Yes
* Contact Person กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม
* Contact Email goc.dmr@hotmail.com
* Objective อื่นๆ
บริหารจัดการการใช้ประโยชน์พื้นที่ ประเมินการแจ้งเตือนเฝ้าระวังธรณีพิบัติภัยแผ่นดินถล่มรายตำบล
* Update Frequency Unit อื่นๆ
ตามความจำเป็น หรือเมื่อพบว่าข้อมูลไม่ถูกต้อง
Update Frequency Interval
* Geo Coverage ประเทศ
* Data Source โครงการลดผลกระทบธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (หลุมยุบ) ภายใต้กิจกรรมรวบรวมและจัดทำข้อมูลฐาน ข้อมูลสารสนเทศ และข้อมูลประกอบอื่นๆ เพื่อการประเมินพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดหลุมยุบ ทั้งประเทศ, สำรวจสภาพทั่วไปของพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเกิดเหตุหลุมยุบในพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ, สภาพธรณีวิทยา ธรณีวิทยาโครงสร้าง ภูมิสัณฐาน และอุทกธรณีวิทยาทั้งบนดินและใต้ดินโดยสังเขป, สภาพความเสียหายจากหลุมยุบที่เกิดขึ้น ตำแหน่ง ขนาด และสถานภาพปัจจุบัน, จัดทำแผนที่พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดหลุมยุบ
* Data Format
  • Database
  • HTML
  • อื่นๆ
API Arcgis Rest Service
* Data Category ข้อมูลสาธารณะ
* License Creative Commons Attributions
Accessible Condition ไม่มี
URL https://gis.dmr.go.th/DMR-GIS/
Data Language ไทย
Last updated date October 1, 2023
Data release calendar January 10, 2005
Geographic dataset (Geoinformatics data) ชั้นข้อมูลภาพแผนที่ภูมิประเทศ
Equivalent scale (Geoinformatics data) 1:250,000
West bound longitude (Geoinformatics data) 97.21
East bound longitude (Geoinformatics data) 105.62
North bound longitude (Geoinformatics data) 20.45
South bound longitude (Geoinformatics data) 5.36
Positional accuracy (Geoinformatics data) พิกัดตำแหน่งจากการสำรวจภาคสนามโดยใช้ GPS, แผนที่ของกรมแผนที่ทหาร (มาตราส่วน 1:50,000)
Reference period (Geoinformatics data) 10 มกราคม 2548
Data release date (Geoinformatics data) January 10, 2005
Create by Gravatar สาวิตรี ลือชาอภิชาติกุล
Created June 19, 2023
Last Updated January 26, 2024